วันพุธที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3
ประจำวันศุกร์  ที่  22  เดือนพฤศจิกายน  .. 2556
** เวลาถามคำถามเด็กต้องถาม เหตุผลเสมอ **
จุดมุ่งหมาย
-                   เพื่อเข้าใจพื้นฐานของคณิตศาสตร์  เช่น รู้คำศัพท์
-                   พัฒนามโนภาพ  เช่น  บวก  ลบ
-                   รู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
-                   ให้ฝึกฝนทักษะทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน
-                   ให้มีความรู้ความเข้าใจ
-                   เพื่อให้ค้นคว้าหาคำตอบเอง  ( ครูไม่เฉลย )
·       ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับครูปฐมวัย
1.            การสังเกต  ( Observation )
-                   การใช้ประสารทสัมผัสในการเรียนรู้   ( สัมผัสของจริง )
-                   โดยเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์โดยตรง  อย่างมีจุดหมาย
2.            การจำแนกประเภท  ( Classifying )
     เกณฑ์  ความเหมือน  /  ความต่าง  /  ความสัมพันธ์
-                   แบ่งประเภทของสิ่งของโดยใช้เกณฑ์
3.            การเปรียบเทียบ  ( Comparing )
-                   เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของสิ่งของ / เหตุการณ์   ตั้งแต่  2  สิ่งขึ้นไป
-                   เด็กต้องเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งของนั้น ๆ และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้
                **  สิ่งที่สังเกตเห็นแล้วพูดออกมา **
4.            การจัดลำดับ  ( Ordering )
-                   เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง  3  ปีขึ้นไป
-                   จัดลำดับวัตถุและเหตุการณ์
5.            การวัด  ( Measurement )
-                   มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
-                   การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย  ( อุณหภูมิ / เวลา / ระยะทาง / ความยาว / น้ำหนัก /ส่วนสูง  )
**  การวัดของเด็กปฐมวัย  ไม่ใช้หน่วยมาตรฐานในการวัด 
                                  ใช้การเปรียบเทียบแทน  **
6.            การนับ  ( Counting  )
-                   เด็กชอบนับแบบท่องจำ โดยไม่รู้ความหมาย
-                   การนับ  ( ท่องจำ )  จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง  เช่น  นับเพื่อนที่มาเรียน / ใน 1 สัปดาห์ หนูมาเรียนกี่ครั้ง
7.            รูปทรงและขนาด ( Sharpand Size )
-                    ส่วนมากเด็กเข้าใจอยู่แล้ว  ( ไม่ค่อยมีปัญหา )
      **  ภาพหนึ่งภาพสามารถสะท้อนได้ทั้ง 7 ทักษะ  **



กิจกรรม ภายในห้อง
1.            วาดรูปวงกลม  1  รูป
2.            เขียนเลขที่ชอบลงตรงกลางวงกลม
3.            ตัดกระดาษสีต่าง ๆ ทำกลีบให้เท่ากับตัวเลขที่เขียนไว้ในวงกลม



ประโยชน์
1.            เด็กได้เรียนรู้เรื่องของรูปทรง
2.            เด็กได้เรียนรู้เรื่องตัวเลข
3.            เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์
4.            เด็กได้ฝึกความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาในการตัดกระดาษ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น